Untitled Document

คู่มือมอก. 18000    ฉบับคณะแพทยศาสตร์    มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

TIS 18000 Faculty of Medicine    Prince of Songkla

Untitled Document

คลิ๊กปุ่ม   ที่มุมซ้ายสุดเพื่อย้อนกลับหน้าที่แล้ว

คลิ๊กตรงนี้กลับหน้าหลักคู่มือมอก.
ขั้นตอน 1: ทบทวนสถานะเบื้องต้น กำหนดนโยบาย วางแผน
1.1 แต่งตั้ง OHSMR /คณะทำงาน
1.2 ทบทวนสถานะ
1.3 ประเมินความเสี่ยง
1.4 กำหนดนโยบาย
1.5 เตรียมการจัดการอาชีว อนามัยและความปลอดภัย
ขั้นตอน 2: นำไปใช้/ ปฏิบัติ
2.1 เอกสารและระบบควบคุม เอกสาร
2.2 กฎหมาย และข้อกำหนดอื่นๆ
2.3 โครงสร้างและความรับผิดชอบ
2.4 ฝึกอบรม สร้างจิตสำนึก ความรู้ ความสามารถ
2.5 สื่อสาร
2.6 จัดซื้อ
2.7 จัดจ้าง
2.8 ควบคุมการปฏิบัติ
2.9 เตรียมความพร้อมสำหรับ ภาวะฉุกเฉิน
2.10 เตือนอันตราย
2.11 จัดทำและเก็บบันทึก
ขั้นตอน 3: ตรวจสอบ แก้ไข ทบทวน การจัดการ
3.1 ติดตาม ตรวจสอบ วัดผลปฏิบัติ
3.2 ตรวจประเมิน
3.3 แก้ไข/ ป้องกัน
3.4 ทบทวนการจัดการ
 
 


 

ขั้นตอน 2.10 การเตือนอันตราย

ตามข้อกำหนด 4.5.8 การเตือนอันตราย

      องค์กรต้องจัดให้มีการเตือนอันตรายในกิจกรรมที่มีความเสี่ยงสูง โดยครอบคลุมถึงชนิด สถานะของวัตถุอันตราย  รวมทั้งสถานภาพของเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ไฟฟ้า และสถานที่ที่มีความเกี่ยวข้องในด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัย โดยอาจใช้สื่อต่างๆที่มีความทนทาน เข้าใจง่าย ชัดเจน เป็นไปตามมาตรฐานของทางราชการ หรือตามหลักสากล ในกรณีที่ไม่มีการกำหนดมาตรฐานดังกล่าว ให้องค์กรจัดทำขึ้น ทั้งนี้ต้องจัดทำเป็นเอกสารเพื่อการอ้างอิง

210_458a

 

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อให้พนักงานทุกคนเข้าใจสื่อของการเตือนอันตราย ที่เหมือนกันในองค์กร
  2. เพื่อใช้เป็นมาตรการในการควบคุมความเสี่ยง

210_458b

กิจกรรม

  • หน่วยอาชีวอนามัยดำเนินการสำรวจจุดงานที่ต้องติดป้ายเตือนภัยโดยใช้แบบฟอร์มบัญชีป้ายเตือนอันตราย
  • หน่วยพัสดุจัดซื้อป้ายเตือน
  • หน่วยอาชีวอนามัยและคณะกรรมการอัคคีภัยดำเนินการติดตั้งและประสานงานเพื่อติดตั้งป้ายเตือนในพื้นที่เสี่ยงของทุกหน่วยงานที่สำรวจไว้แล้ว
  • จัดทำทะเบียนป้ายเตือนภัย ทั้งหมดของคณะแพทยศาสตร์ และกำหนดให้มีการอบรมเรื่องป้ายเตือนภัยในการปฐมนิเทศพนักงานใหม่

 

 

Untitled Document
ถ้าคุณมีข้อเสนอแนะ/ ปัญหาในการใช้คู่มือจัดทำระบบมอก.18000 กรุณาติดต่อหน่วยอาชีวอนามัย โทร. 1167, 1548