ประวัติความเป็นมา
หน่วยประสาทวิทยา ก่อตั้งขึ้นพร้อมการก่อตั้งภาควิชาอายุรศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. ในระยะแรก รองศาสตราจารย์กิตติ ลิ่มอภิชาต เป็นอาจารย์ท่านแรกของหน่วย ทำหน้าที่รับผิดชอบการเรียนการสอนวิชาประสาทวิทยาทุกระดับ(ตั้งแต่ พ.ศ. 2520) ต่อมาได้ก่อตั้งเป็นหน่วยโรคระบบประสาท สมอง และกล้ามเนื้อ โดยมี รองศาสตราจารย์นายแพทย์กิตติ ลิ่มอภิชาต เป็นหัวหน้าหน่วย หลังจากนั้นได้มีการบรรจุอาจารย์เพิ่มเติม เพื่อเข้ามาช่วยพัฒนาด้านการเรียน การสอน และงานวิจัยของหน่วย หน่วยให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น อาทิ เช่น อาจารย์ นายแพทย์ พิสิษฏฐ์ โพธินาถ(พ.ศ.2521-2523)  ได้เข้ามาบุกเบิกและริเริ่มให้เปิดการให้บริการตรวจคลื่นไฟฟ้าสมองเป็นแห่งแรกของภาคใต้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์จิระพัฒน์ อุกะโชค (พ.ศ.2529-2539) อาจารย์นายแพทย์ชัยพร เรืองกิจ  อาจารย์นายแพทย์สรรเสริญ พงษ์ลิขิตมงคล (พ.ศ.2530-2533)และผู้ช่วยศาสตราจารย์แพทย์หญิง นันทพร ตียพันธ์(พ.ศ. 2536-2543)  ต่อมา หน่วยประสาทวิทยาได้เติบโตและพัฒนามากขึ้นทั้งในด้านการบริการ วิชาการ การเรียนการสอนทั้งระดับก่อนและหลังปริญญา และงานวิจัย ได้มีการรับอาจารย์เพิ่มเติมหลายท่าน เช่น  ผู้ช่วยศาสตรจารย์แพทย์หญิงสุวรรณา เศรษฐวัชราวนิช รองศาสตรจารย์นายแพทย์พรชัย สถิรปัญญา ศาสตราจารย์นายแพทย์คณิตพงษ์ปราบพาล อาจารย์นายแพทย์ พัฒน์ ก่อรัตนคุณ อาจารย์แพทย์หญิง ธัญญลักษณ์
อมรพจน์นิมมาน สำหรับด้านการเรียนการสอนหลังปริญญา หน่วยประสาทวิทยาได้เปิดหลักสูตรแพทย์ประจำบ้านและแพทย์ประจำบ้านต่อยอดสาขาประสาทวิทยาตั้งแต่ ปีการศึกษา 2551เป็นต้นมาและมีผู้สำเร็จการฝึกอบรมอย่างต่อเนื่องทุกปี

ปณิธาน
มุ่งมั่นที่จะพัฒนาให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาประสาทวิทยาของหน่วยในทุกๆด้านให้เทียบเคียงกับระดับมาตราฐานสากล

บุคลากร


รศ.นพ.พรชัย สถิรปัญญา
Assoc. Prof. Pornchai Sathirapanya M.D.
หัวหน้าหน่วย
E-mail : sporncha@medicine.psu.ac.th
โทรศัพท์ : 074-451482
ศ.นพ.คณิตพงษ์ ปราบพาล
Prof. Kanipong Phabphal M.D.
E-mail :pkanitpo@medicine.psu.ac.th
ผศ.พญ.สุวรรณา เศรษฐวัชราวนิช
Asst. Prof. Suwanna Setthawatcharawanich M.D.
E-mail :ssuwanna@medicine.psu.ac.th
อ.นพ.พัฒน์ ก่อรัตนคุณ
Mr. Pat Korathanakhun M.D.
E-mail :patosk120@gmail.com
ลาศึกษาต่อประเทศแคนาดา
อ.พญ..ธัญลักษณ์ อมรพจน์นิมมาน
Thanyalak Amurnpojaimman M.D.
E-mail : athanyal@medicine.psu.ac.th
ลาศ
อาจารย์พิเศษ
รศ.นพ.กิตติ ลิ่มอภิชาต
Assoc. Prof. Kitti Limapichat M.D.
E-mail : kitti.l@psu.ac.th
สายสนับสนุน
นางมณฑิรา วิทยากิตติพงษ์
E-mail : vmontira@medicine.psu.ac.th
ตำแหน่ง : พยาบาล ชำนาญการ
น.ส.เพ็ญศรี จงภัทรโรจน์
E-mail : ood_gum@hotmail.com
ตำแหน่ง : นักวิทยาศาสตร์ ปฏิบัติการ
น.ส.จุฑารัตน์ แทนศิริ
E-mail : paek.ton@hotmail.com
ตำแหน่ง : ผู้ปฏิบัติงานวิทยาศาสตร์
น.ส.ปวีณา  แน่นแผ่น
E-mail : dakanda_teerak@hotmail.com
ตำแหน่ง : เจ้าหน้าที่วิจัย ปฏิบัติการ

 

ขอบเขตการดำเนินงาน
งานการเรียนการสอน หน่วยประสาทวิทยาได้ดำเนินงานการเรียนการสอนดังนี้
1.ระดับการศึกษาก่อนปริญญา
อาจารย์ของหน่วยประสาทวิทยาเป็นประธานกรรมการ กรรมการ และอาจารย์ร่วมสอนกับต่างหน่วยวิชาหรือภาควิชา หรือคณะอื่นๆ ในกลุ่มสาระวิชาที่กำหนดตามหลักสูตรแพทยศาสตร์บัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ภายใต้การประสานงานของงานแพทยศาสตร์ศึกษาของฝ่ายการศึกษาก่อนปริญญา คณะแพทยศาสตร์ รวมถึงรับฝึกอบรมระยะสั้นหรือวิชาเลือกแก่นักศึกษาแพทย์ผู้สนใจไม่จำกัดสถาบัน

2. ระดับหลังปริญญา
2.1 อาจารย์ผู้สอนร่วมในหลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านสาขาอายุรศาสตร์
2.2 อาจารย์ผู้สอนในหลักสูตรแพทย์ประจำบ้านและแพทย์ประจำบ้านต่อยอดสาขาประสาทวิทยา (หลักสูตร 3 ปีสำหรับแพทย์ใช้ทุน แพทย์ประจำบ้าน และหลักสูตร 2 ปีสำหรับแพทย์ประจำบ้านต่อยอด) ศักยภาพการฝึกอบรมชั้นปีละ 2 ตำแหน่ง
2.3 ฝึกอบรมระยะสั้นหรือวิชาเลือกแก่แพทย์ผู้สนใจไม่จำกัดสถาบัน

งานวิจัย
หัวเรื่องงานวิจัยที่สำคัญและนักวิจัยหลักของหน่วยประสาทวิทยาได้แก่

    • Stroke ( รศ. นพ. พรชัย สถิรปัญญา)
    • Epilepsy (ศ.นพ. คณิตพงษ์ ปราบพาล)
    • Cognitive and behavioral disorders (ผศ.พญ.สุวรรณา เศรษฐวัชราวนิช)
    • Movement disorders (ผศ.พญ.สุวรรณา เศรษฐวัชราวนิช)
    • Neuromuscular diseases (อ. นพ. พัฒน์ ก่อรัตนคุณ)

    งานบริการทางการแพทย์
    1.ตารางออกตรวจ OPD เฉพาะทาง

     

    9.00-12.00

    13.00-16.00

    จันทร์

    OPD botulinum toxin for movement disorder

    -

    อังคาร

    OPD dementia and Parkinson disease

    OPD Neurology

    2. บริการการตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง (EEG service)
    3. บริการคัดกรองและส่งต่อการตรวจพิเศษเฉพาะโรคทางพันธุศาสตร์และอิมมูโนวิทยาของระบบประสาท  (neurogenetic and neuro-immunological diseases)

    งานบริการวิชาการ
    หน่วยประสาทวิทยามีการจัดกิจกรรมงานบริการวิชาการดังนี้

    1. Interdepartmental conference
      1. Clinical neurology conference ทุกวันจันทร์ เวลา13.30-14.30 น. เป็นกิจกรรมร่วมกันอภิปรายผู้ป่วยที่น่าสนใจ หรือมีปัญหาในการวางแผนการรักษา ระหว่างแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านประสาทวิทยาหลายสาขาย่อย เช่น neurologist, neuroradiologist, neurosurgeron, neuropediatrician และ neurophthalmologist
      2. Clinical electrophysiology conference ทุกวันอังคารแรกของทุกเดือน เวลา08.00-09.00 น. เป็นกิจกรรมร่วมระหว่าง หน่วยประสาทวิทยาและ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู
      3. Emergency neurology conference ทุกวันอังคารที่สองของเดือน เป็นกิจกรรมร่วมระหว่าง ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉินและหน่วยประสาทวิทยา
    2. Interhospital conference
      1. Interhospital dementia teleconference ทุกสี่เดือน เป็นกิจกรรมร่วมระหว่าง โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ และโรงพยาบาลศรีนครินทร์ขอนแก่น
      2. Songkla interhospital conference ทุกสามเดือน (มี.ค. มิ.ย. ก.ย. และ ธ.ค. ชองทุกปี)  เป็นกิจกรรมวิชาการร่วมกันระหว่างประสาทแพทย์ของโรงพยาบาลภายในจังหวัดสงขลา ได้แก่ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลหาดใหญ่ โรงพยาบาลสงขลา โรงพยาบาลจิตเวชสงขลาราชนครินทร์โรงพยาบาลกรุงเทพหาดใหญ่ โรงพยาบาลราษฎร์ยินดี และโรงพยาบาลศิครินทร์หาดใหญ่
    3. จัดการประชุมวิชาการเพื่อเป็นการบริการวิชาการและส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และผู้ปฏิบัติงานทุกระดับ หน่วยประสาทวิทยาได้ร่วมกับชมรมประสาทวิทยาศาสตร์ภาคใต้ ( Southern Neurological Society of Thailand, SNATH ) ซึ่งรวบรวมแพทย์สาขาประสาทวิทยาที่ทำงานอยู่ใน 14 จังหวัดภาคใต้ ร่วมกันจัดกิจกรรมการให้ความรู้และบริการวิชาแก่โรงพยาบาลในเขตภาคใต้ ปีละ 2 ครั้ง
    4. Thai regional neurological conference เป็นความร่วมมือระหว่างสมาคมหรือชมรมประสาทวิทยาในภูมิภาค (TRN) อันได้แก่ ศูนย์โรคสมองภาคเหนือ สมาคมประสาทวิทยาศาสตร์ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และชมรมประสาทภาคใต้ หมุนเวียนจัดกิจกรรมและอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเพิ่มพูนทักษะทางประสาทวิทยาแก่แพทย์ในภูมิภาคและประชุมวิชาการทางประสาทวิทยา หมุนเวียนกันเป็นเจ้าภาพ ปีละ 1 ครั้ง
    5. กิจกรรมเวทีสุขภาพ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ เป็นกิจกรรมการให้ความรู้ประชาชน ปีละ 2-3 ครั้ง

    งานวิจัยของหน่วย

      • Sathirapanya P, Fujitnirun C, Setthawatcharawanich S, et al. Peripheral facial paralysis associated with HIV infection: A case series and literature review. Clin Neurol Neurosurg. 2018 ;172:124-129. doi: 10.1016/j.clineuro.2018.06.033.
      • Maethasith I, Sathirapanya P. Cerebral lupus presented with late postpartum eclampsia and atypical reversible leucoencephalopathy. Neuroradiology. 2017;59:1063-1064. doi: 10.1007/s00234-017-1891-2.
      • Sathirapanya P. Choreoathetosis Is a Possible Adverse Event of a Commonly Used Antibiotic. Case Rep Neurol. 2017;9:81-85. doi: 10.1159/000472148.
      • Korathanakhun P, Petpichetchian C, Petpichetchian W, Sathirapanya P. Comparison of the efficacy of fixed-dose enoxaparin and adjusted-dose unfractionated heparin in patients with cerebral venous thrombosis. Clin Neurol Neurosurg. 2017;159:50-54. doi: 10.1016/j.clineuro.2017.05.012.
      • Vasivej T, Sathirapanya P, Kongkamol C. Incidence and Risk Factors of Perioperative Stroke in Noncardiac, and Nonaortic and Its Major Branches Surgery. J Stroke Cerebrovasc Dis. 2016 ;25:1172-1176. doi: 10.1016/j.jstrokecerebrovasdis.2016.01.051.
      • Toamad U, Kongkamol C, Setthawatcharawanich S, et al. Clinical presentations as predictors of prolonged mechanical ventilation in Guillain-Barr? syndrome in an institution with limited medical resources. Singapore Med J. 2015;56:558-61. doi: 10.11622/smedj.2015152.
      • Korathanakhun P, Petpichetchian W, Sathirapanya P, et al. Cerebral venous thrombosis: comparing characteristics of infective and non-infective aetiologies: a 12-year retrospective study. Postgrad Med J. 2015 ;91:670-4. doi: 10.1136/postgradmedj-2015-133592.
      • Sathirapanya P. Isolated and bilateral simultaneous facial palsy disclosing early human immunodeficiency virus infection. Singapore Med J. 2015;56:e105-6. doi: 10.11622/smedj.2015095.
      • Setthawatcharawanich S, Limapichat K, Sathirapanya P, et al. Excessive daytime sleepiness and nighttime sleep quality in Thai patients with Parkinson's disease. J Med Assoc Thai. 2014;97:1022-7.
      • Korathanakhun P, Sathirapanya P, Geater SL, et al. Predictors of hospital outcome in patients with cerebral venous thrombosis. J Stroke Cerebrovasc Dis. 2014;23:2725-9. doi: 10.1016/j.jstrokecerebrovasdis.2014.06.020.
      • Sathirapanya P, Setthawatcharawanich S, Limapichat K, et al. Thunderclap headache as a presentation of spontaneous spinal epidural hematoma with spontaneous recovery.J Spinal Cord Med. 2013;36:707-10. doi: 10.1179/2045772313Y.0000000104.
      • Phabphal K, Geater A, Limapichart K, Sathirapanya P, et al. Adult tonic-clonic convulsive status epilepticus over the last 11 years in a resource-poor country: a tertiary referral centre study from southern Thailand. Epileptic Disord. 2013 ;15:255-61. doi: 10.1684/epd.2013.0604.
      • Phabphal K, Geater A, Limapichat K, et al. The association between CYP 2C9 polymorphism and bone health. Seizure. 2013 ;22:766-71. doi: 10.1016/j.seizure.2013.06.003
      • Phabphal K, Geater A, Limapichat K, et al. Risk factors of recurrent seizure, co-morbidities, and mortality in new onset seizure in elderly. Seizure. 2013;22:577-80. doi: 10.1016/j.seizure.2013.04.009.
      • Phabphal K, Geater A, Limapichat K, et al. Effect of switching hepatic enzyme-inducer antiepileptic drug to levetiracetam on bone mineral density, 25 hydroxyvitamin D, and parathyroid hormone in young adult patients with epilepsy. Epilepsia. 2013;54:e94-8. doi: 10.1111/epi.12162.
      • Phabphal K, Geater A, Limapichart K, et al. The association between BsmI polymorphism and bone mineral density in young patients with epilepsy who are taking phenytoin. Epilepsia. 2013 ;54:249-55. doi: 10.1111/epi.12049.
      • Phabphal K, Geater A, Limapichart K, et al. Role of CYP2C9 polymorphism in phenytoin-related metabolic abnormalities and subclinical atherosclerosis in young adult epileptic patients. Seizure. 2013;22:103-8. doi: 10.1016/j.seizure.2012.10.013
      • Phabphal K, Limapichat K, Sathirapanya P, et al. Characterization of glucose homeostasis and lipid profile in adult, seizure-free, epileptic patients in Asian population. Eur J Neurol. 2012 ;19:1228-34. doi: 10.1111/j.1468-1331.2012.03708.x.
      • Setthawatcharawanich S, Sathirapanya P, Phabphal K, et al. Short questionnaire for Parkinson's disease as a screening instrument. Clin Neurol Neurosurg. 2011;113:885-8. doi: 10.1016/j.clineuro.2011.07.001.
      • Setthawatcharawanich S, Limapichat K, Sathirapanya P, et al. Validation of the Thai SCOPA-sleep scale for assessment of sleep and sleepiness in patients with Parkinson's disease. J Med Assoc Thai. 2011;94:179-84.
      • Setthawatcharawanich S, Sathirapanya P, Limapichat K, et al. Factors associated with quality of life in hemifacial spasm and blepharospasm during long-term treatment with botulinum toxin. Qual Life Res. 2011;20:1519-23. doi: 10.1007/s11136-011-9890-y. Epub 2011 Mar 24
      • Phabphal K, Limapichat K, Sathirapanya P,et al. Bone mineral density following long-term use of antiepileptic drugs in a tropical Asian country. Epileptic Disord. 2008;10:213-8. doi: 10.1684/epd.2008.0208.
      • Amornpojnimman T, Korathanakhun P. Predictors of clinical outcomes among patients with brain abscess in Thailand. J Clin Neurosci. 2018;53:135-139. doi: 10.1016/j.jocn.2018.04.059.