ประวัติ
……หน่วยโรคติดเชื้อ ภาควิชาอายุรศาสตร์ เริ่มก่อตั้งเมื่อปี2528 ซึ่งเป็นปีที่ภาควิชาเริ่มมีพื้นที่ของตัวเอง  และเป็นปีที่มีแพทย์ใช้ทุนรุ่นแรก จำนวน 6 คน หน่วยโรคติดเชื้อ สมัยแรกมีอาจารย์แพทย์ 3 ท่านคือ นพ.ขจรศักดิ์ ศิลปโภชากุล , พรรณทิพย์ ฉายากุล และ นพ. สืบสาย กฤษณะพันธ์  เป็นหัวหน้าหน่วย ต่อมาปี 2529 มีตำแหน่งเพิ่มอีก 2 ตำแหน่งคือ อาจารย์แพทย์ 1 ตำแหน่ง คือ นพ.สุเทพ จารุรัตนศิริกุล และนักวิทยาศาสตร์ 1 ตำแหน่ง คือคุณราตรี วั่นสิทธ์ (ปัจจุบันคือ ธนภร หอทิวากุล)
ปี2531-33  นพ.สุเทพ จารุรัตนศิริกุล ลาศึกษาต่อด้าน PK/PD ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา  ช่วงเดียวกัน คุณราตรี วั่นสิทธิ์ ได้ลาศึกษาต่อปริญญาโท คณะเวชศาสตร์เขตร้อน มหิดล และต่อมา  นพ. สืบสาย กฤษณะพันธ์ ลาออกจากราชการ
ปี2541 ได้บรรจุอาจารย์ใหม่อีก 1ตำแหน่ง คือ อ.นพ.พิสุทธิ์  ศิริไพฑูรย์  ด้วยภารกิจที่มากขึ้นด้านโรคติดเชื้อที่อุบัติใหม่ เช่นโรคเอดส์ ซึ่งจำเป็นต้องมีพยาบาล รับผิดชอบและผู้ดูแล ที่ใกล้ชิด จึงขอตำแหน่งพยาบาลมาประจำหน่วย คือ คุณบุญศรี เจริญมาก ในปี 2550  
ด้วยกำลังคนและด้วยภาระงานด้านโรคติดเชื้อที่เพิ่มขึ้น ทางหน่วยจึงได้เปิดหลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านต่อยอด ( Fellowship Trainining in Infectious Disease) โดยในปี 2551 มี fellow  คนแรก คือ นพ.ศรัญญุ ชูศรี  และปีต่อๆมาหน่วยโรคติดเชื้อได้สอน fellow ทุกปี ปีละ 1 คน จนปัจจุบัน มีfellow  จบแล้ว 7 รุ่น จำนวน 8คน ดังนี้
รุ่น 1 นพ.ศรัญญุ ชูศรี       
รุ่น 2 นพ.ณรงค์เดช  โฆษิตพันธวงศ์
รุ่น 3 พญ. ศิริเพ็ญ ปัณฑุวงศ์ และ พญ. สุจินดา เรืองจันทร์ (รุ่นนี้มี 2 คน )
รุ่น 4 พญ.กัญญวิสาข์  คัตตพันธ์  
รุ่น 5  พญ. นฤมล ยลสุริยันวงศ์
รุ่น 6  พญ. วัจนารัตน์ นิตย์โชติ
รุ่น 7  นพ. สุรชาติ ช่วยชบ
โดยfellow 3รุ่นแรก คือนพ.ศรัญญุ ชูศรี ได้บรรจุเป็นอาจารย์ในหน่วยโรคติดเชื้อ ในปี 2552 ,  นพ.ณรงค์เดช  โฆษิตพันธวงศ์ บรรจุเป็นอาจารย์ ในปี 2554 และ        พญ. ศิริเพ็ญ ปัณฑุวงศ์ บรรจุเป็นอาจารย์และเรียน หลักสูตรการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านต่อยอด ด้วยในปี 2555  ดังนั้นในปัจจุบันหน่วยโรคติดเชื้อ มีอาจารย์ประจำเต็มเวลา 5 ท่าน คือ ศ.นพ. สุเทพ จารุรัตนศิริกุล , นพ.พิสุทธิ์  ศิริไพฑูรย์ , รศ.ดร.นพ.ศรัญญู ชูศรี, นพ. ณรงค์เดช โฆษิตพันธวงศ์  และ พญ. ศิริเพ็ญ ปัณฑุวงศ์  และมีอาจารย์เกษียณอายุ 2 ท่าน คือ ศ.นพ.ขจรศักดิ์ ศิลปโภชากุล , รศ.พญ พรรณทิพย์ ฉายากุล ปฎิบัติงานไม่เต็มเวลา

บุคลากร

ศ.นพ.สุเทพ จารุรัตนศิริกุล
Prof. Sutep Jaruratanasirikul M.D.
หัวหน้าสาขาวิชา
E-mail : jasutep@medicine.psu.ac.th
โทรศัพท์ : 074-451483
อ.นพ.พิสุทธิ์  ศิริไพฑูรย์
Mr. Pisud Siripaitoon M.D.
E-mail : spisud@medicine.psu.ac.th
รศ.ดร.นพ.ศรัญญู ชูศรี
Assoc. Prof. Dr. Sarunyou Chusri M.D.
E-mail : sarunyouchusri@hotmail.com
ผศ.นพ.ณรงค์เดช โฆษิตพันธวงศ์
Asst. Prof. Narongdet Kositpantawong M.D.
E-mail : narongdet032@gmail.com
อ.พญ.ศิริเพ็ญ ปัญฑุวงศ์
Siripen Panthuwong M.D.
E-mail : kaymed29@yahoo.com
อาจารย์พิเศษ
ศ.นพ.ขจรศักดิ์ ศิลปโภชากุล
Prof. Khachornsakdi Silpapojakul M.D.
E-mail : skhachor@medicine.psu.ac.th
รศ.พญ.พรรณทิพย์ ฉายากุล
Assoc. Prof.  Phanthip Chayakun M.D.
E-mail : chpantip@yahoo.com
สายสนับสนุน
นางธนภร หอทิวากุล
E-mail : hratri@medicine.psu.ac.th
ตำแหน่ง : นักวิทยาศาสตร์ ชำนาญการพิเศษ
นางบุญศรี เจริญมาก
E-mail : cboonsri@medicine.psu.ac.th
ตำแหน่ง : พยาบาล ชำนาญการ
 
น.ส.ธรณัส เรืองภักดี
E-mail : rkanjana@medicine.psu.ac.th
ตำแหน่ง : พนักงานบริการ บ1
 

 

งานการเรียนการสอน  (ตัวอย่างเช่น: รับผิดชอบการเรียนการสอนนักศึกษาแพทย์ แพทย์ประจำบ้าน แพทย์ประจำบ้านต่อยอด การรับนักเรียน elective ในวิชาเลือกเสรี ชั้นปีไหนบ้าง ปีการศึกษาละกี่คน การรับนักเรียน elective ตปท)
1.รับผิดชอบการศึกษาในระดับปริญญาแพทยศาสตร์บัณฑิต   
1.1 การเรียนการสอนสำหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่2ในรายวิชาภูมิคุ้มกันและการติดเชื้อ
1.2 การเรียนการสอนสำหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่4 และปี5 ในรายวิชาสุขภาพและโรคของผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ  ทั้งภาคทฤษฎีและฝึกพัฒนาทักษะ
1.3 การเรียนการสอนสำหรับนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่6 ในวิชาเวชปฎิบัติอายุรกรรม
2. การสอนและฝึกอบรมการศึกษาระดับหลังปริญญา
2.1 สอนแพทย์ใช้ทุนและแพทย์ประจำบ้านอายุรศาสตร์ ชั้นปีที่ 1-3 โดยมาปฎิบัติงานหมุนเวียนในหออภิบาลผู้ป่วยอายุรกรรม 
2.2 สอนฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านต่อยอด สาขาอายุรศาสตร์โรคติดเชื้อ โดยรับรองฝึกอบรมได้ปีละ 2 คน
2.3 เปิดรับผู้เข้ารับการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านอายุรศาสตร์และอนุสาขาอายุรศาสตร์โรคติดเชื้อทั้งในและต่างประเทศ มา elective คราวละ1-2 คน คนละ 2-4 สัปดาห์
3. การฝึกอบรม
3.1  เปิดรับ การฝึกอบรมการศึกษาระดับหลังปริญญา ‘หลักสูตร ผู้มีความรู้ความชำนาญในการประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม สาขาเภสัชบำบัดด้านโรคติดเชื้อ (specializes fellowship in infectious disease)” ร่วมกับคณะเภสัชศาสตร์  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
3.2  เปิดรับ หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญภาคสนาม (FETP)
เป็นความร่วมมือ ระหว่างกระทรวงสาธารณสุขและหน่วยโรคติดเชื้อโดย ศ.นพ.ขจรศักดิ์ ศิลปโภชากุล และหน่วยระบาดวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในการพัฒนาบุคคลากรด้านระบาดวิทยาให้ถึงขั้นสูง

4. กิจกรรมวิชาการประจำหน่วย


วัน

เวลา

กิจกรรม

ผู้เข้าร่วม

   อังคาร

13.00-15.00

Infectious disease Grand round

พชท/พชบ/fellow

  พุธ

12.00-14.00

Infectious Disease case/topic conference and Journal club

พชท/พชบ/fellow

 ศุกร์

9.30-11.30
11.30-12.00

Book Club
Home room

ID fellow
ID fellow

 

งานวิจัย  (ตัวอย่างเช่น: หน่วยให้ความสำคัญกับงานวิจัยส่วนไหนบ้าง)
1. Bacterial Drug Resistant
2. AFI
3. PK/PD
4. Re

งานบริการทางการแพทย์

  1. ร่วมดูแลผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกในส่วนอายุรกรรมทั่วไปร่วมกับอาจารย์ในสาขาวิชาอายุรศาสตร์
  2. ให้คำแนะนำและร่วมวางแผนการรักษาผู้ป่วยทั้งในและนอกแผนกอายุรกรรมและต่างแผนก ในปัญหาเกี่ยวกับโรคติดเชื้อ
  3. ดูแลผู้ป่วยโรคติดเชื้อเรื้อรังหรือผู้ป่วยภายหลังออกจากโรงพยาบาลอันเนื่องจากการเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อ โดยออกปฎิบัติที่คลีนิคอายุรกรรมโรคติดเชื้อ ทุกวันจันทร์ เวลา 13.00-16.00 น.
  4. บริการให้การป้องกันโรคติดเชื้อ ทั้งการใช้ยา การให้วัคซีนและคำแนะนำการปฎิบัติตัวแก่ผู้รับบริการ ณ คลีนิกอายุรกรรมโรคติดเชื้อ
  5. ปฎิบัติหน้าที่ ทบทวน อนุมัติ การสั่งจ่ายยาปฎิชีวนะที่โรงพยาบาลระบุว่าเป็นยาควบคุมการใช้ เพื่อลดการติดเชื้อดื้อยาในโรงพยาบาล
  6. บริการการตรวจทางห้องฎิบัติการ เช่น  lab ADA ซึ่งเป็นการตรวจจาก body fluid ที่สงสัยวัณโรค
  7. ให้บริการประสานงานการส่งตรวจlabนอก ( lab ที่ไม่มีตรวจในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์) หาสถานที่ส่งตรวจ การเก็บสิ่งส่งตรวจ  ราคา เทคนิคการตรวจ การส่ง และการรายงานผล เมื่อได้ผลการตรวจ สแกนลงระบบHIS

งานบริการวิชาการ

  1. จัดอบรมและประชุมวิชาการ ด้านการใช้ยา  ARV  และการดูแลคนไข้เอดส์ ให้แก่แพทย์  พยาบาล รพ.ชุมชนในภาคใต้
  2. เป็นวิทยากร บรรยาย เรื่อง การใช้ยาปฎิชีวนะอย่างสมเหตุสมผล  คณะเภสัชศาสตร์
  3. เป็นอาจารย์พิเศษสอนนักศึกษาคณะทันตแพทย์ เรื่อง” Infection and Infectious Disease” และคณะแพทย์แผนไทย เรื่อง “Acute and Tropical Infection” 

งานวิจัยของหน่วย: ใส่ publication ของอาจารย์ในหน่วย เรียงตามปีที่ตีพิมพ์  (ใช้การ citation แบบ  Vancouver?)

1. Kullberg JB, Viscoli C, Pappas PG, Vazquez J, Ostrosky-Zeichner L, Rotstein C,  Sobel JD, Herbrecht R, Rahav G, Jaruratanasirikul S, Chetchotisakd P, Wijngaerden EV, Waele JD, Lademacher C, Engelhardt M, Kovanda LL, Croos-Dabrera R, Fredericks C, Thompson III JR,. Isavuconazole versus Caspofungin in the Treatment of Candidemia and Other Invasive Candida Infections: The ACTIVE Trial. Clinical Infectious Diseases 2019; 68:1981-9.
2.. Sukarnjanaset W, Jaruratanasirikul S, Wattanavijitkul T. Population pharmacokinetics and pharmacodynamics of piperacillin in critically ill patients during the early phase of sepsis. J Pharmacokinet Pharmacodyn 2019; 46:251-61.
3. Jaruratanasirikul S, Nitchot W, Wongpoowarak W, Samaeng M, Nawakitrangsan M. Population pharmacokinetics and Monte Carlo simulations of sulbactam to optimize dosage regimens in patients with ventilator-associated pneumonia caused by Acinetobacter baumannii. Eur J Pharm Sci 2019: in press
4. Sarunyou Chusri  , Kamonnut Singkhamanan b , Worrawit Wanitsuwan c , Yuthasak Suphasynth d , Narongdet Kositpantawong a , Siripen Panthuwong a , Yohei Doi e, Adjunctive therapy of intravenous colistin to intravenous tigecycline for adult patients with non-bacteremic post-surgical intra-abdominal infection due to carbapenem-resistant Acinetobacter baumannii.
, J Infect Chemother, https://doi.org/10.1016/j.jiac.2019.03.017

8.Chusri S, Siripaitoon P, Silpapojakul K, Hortiwakul T, Charoenmak B, Nisalak A, Thaisomboonsuk B, Klungthon C, Gibbons R, Jarman R. Viral and serological kinetics of Chikungunya infection during outbreak in southern Thailand in 2009. Am J Trop Med Hyg 2014 ;90 (3): 410-17.
9.Nawakitrangsan M, Jaruratanasirikul S, Banjongjit A, Wongpoowarak W, Samaeng M. Population Pharmacokinetics and Pharmacodynamics Analysis to Optimize Dosing Regimens of Cefepime. Lat Am J Pharm 2018; 37:753-8.

    • Sukarnjanaset W, Wattanavijitkul T, Jaruratanasirikul S. Evaluation of FOCEI and SAEM Estimation Methods in Population Pharmacokinetic Analysis Using NONMEM?Across Rich, Medium, and Sparse Sampling Data. Eur J Drug Metab Pharmacokinet 2018; 43:729–36.
    • Sathirapanya P, Fujitnirun C, Setthawatcharawanich S, Phabphal K, Limapichat K, Chayakul P, Silpapojakul K, Jaruratanasirikul S, Siripaitoon P, Chusri S, Kositpantawong N. Peripheral facial paralysis associated with HIV infection: A case series and literature review. Clin Neurol Neurosurg 2018; 172:124-9.
    • Siriyasatien P, Chusri S, Kraivichian K, Jariyapan N, Hortiwakul T, Silpapojakul K, Pym AM, Phumee A.  Early detection of novel Leishmania species DNA in the saliva of two HIV-infected patients. BMC Infect Dis. 2016 Feb 24;16:89. doi: 10.1186/s12879-016-1433-2.